Teaching Speaking
Many language
learners regard speaking ability as the measure of knowing a language. These
learners define fluency as the ability to converse with others, much more than
the ability to read, write, or comprehend oral language. They regard speaking
as the most important skill they can acquire, and they assess their progress in
terms of their accomplishments in spoken communication.
Language learners need to recognize that speaking involves
three areas of knowledge:
- Mechanics (pronunciation, grammar, and vocabulary): Using the right words in the right order with the correct pronunciation
- Functions (transaction and interaction): Knowing when clarity of message is essential (transaction/information exchange) and when precise understanding is not required (interaction/relationship building)
- Social and cultural rules and norms (turn-taking, rate of speech, length of pauses between speakers, relative roles of participants): Understanding how to take into account who is speaking to whom, in what circumstances, about what, and for what reason.
เทคนิคการสอนทักษะการพูด
การสอนภาษาทุกภาษา มีธรรมชาติของการเรียนรู้เช่นเดียวกัน คือ เริ่มจากการฟัง และการพูด แล้วจึงไปสู่การอ่านและการเขียน ตามลำดับ
จุด มุ่งหมายของการพูด คือ การสื่อสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วยการพูดอย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในเบื้องต้น มุ่งเน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา ในเรื่องของเสียง คำศัพท์ ไวยากรณ์ กระสวนประโยค ดังนั้น กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนระดับต้นได้ฝึกทักษะการพูด จึงเน้นกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติตามแบบ หรือ ตามโครงสร้างประโยคที่กำหนดให้พูดเป็นส่วนใหญ่ สำหรับผู้เรียนระดับสูง กิจกรรมฝึกทักษะการพูด จึงจะเน้นที่ความคล่องแคล่วของการใช้ภาษา และจะเป็นการพูดแบบอิสระมากขึ้น
จุด มุ่งหมายของการพูด คือ การสื่อสารให้ผู้อื่นได้รับรู้ด้วยการพูดอย่างถูกต้องและคล่องแคล่ว การสอนทักษะการพูดภาษาอังกฤษในเบื้องต้น มุ่งเน้นความถูกต้องของการใช้ภาษา ในเรื่องของเสียง คำศัพท์ ไวยากรณ์ กระสวนประโยค ดังนั้น กิจกรรมที่จัดให้ผู้เรียนระดับต้นได้ฝึกทักษะการพูด จึงเน้นกิจกรรมที่ผู้เรียนต้องฝึกปฏิบัติตามแบบ หรือ ตามโครงสร้างประโยคที่กำหนดให้พูดเป็นส่วนใหญ่ สำหรับผู้เรียนระดับสูง กิจกรรมฝึกทักษะการพูด จึงจะเน้นที่ความคล่องแคล่วของการใช้ภาษา และจะเป็นการพูดแบบอิสระมากขึ้น
เทคนิควิธีปฎิบัติ กิจกรรมการฝึกทักษะการพูด มี 3 รูปแบบ คือ
1. การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ เช่น
- พูดเปลี่ยนคำศัพท์ในประโยค
- พูดตั้งคำถามจากสถานการณ์ในประโยคบอกเล่า
- พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให้
1. การฝึกพูดระดับกลไก (Mechanical Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่กำหนดให้ในหลายลักษณะ เช่น
- พูดเปลี่ยนคำศัพท์ในประโยค
- พูดตั้งคำถามจากสถานการณ์ในประโยคบอกเล่า
- พูดถามตอบตามรูปแบบของประโยคที่กำหนดให้
2. การฝึกพูดอย่างมีความหมาย ( Meaningful Drills) เป็นการฝึกตามตัวแบบที่เน้นความหมายมากขึ้น มีหลายลักษณะ เช่น - พูดสร้างประโยคเปรียบเทียบโดยใช้รูปภาพ
- พูดสร้างประโยคจากภาพที่กำหนดให้
- พูดเกี่ยวกับสถานการณ์ต่างๆ ในห้องเรียน ฯลฯ
3. การฝึกพูดเพื่อการสื่อสาร (Communicative Drills) เป็นการฝึกเพื่อมุ่งเน้นการสื่อสาร เปิดโอกาสให้ผู้เรียนสร้างคำตอบตามจินตนาการ เช่น -พูดประโยคตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้นจริง
- พูดตามสถานการณ์ที่กำหนดให้
- พูดบรรยายภาพหรือสถานการณ์แล้วให้เพื่อนวาดภาพตามที่พูด
ดัง นั้นในการสอนทักษะต่างๆไม่เฉพาะเเต่การสอนพูดเท่านั้น ครูผู้สอนควรมีความรู้และความชำนาญในเรื่องของเนื้อหา ศัพท์ เสียง เเละโครงสร้างทางไวยากรณ์ที่ถูกต้องเเละเเม่นยำ จึงจะสามารถจัดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการพูดให้แก่ผู้เรียนได้อย่างสอด คล้องกับระดับและศักยภาพของผู้เรียนเเละเกิดประสิทธิภาพอย่างแท้จริง
My opinion
Teaching speaking is
difficult skill for students who are backward language
learning. Students need to have background knowledge about grammar. Although,
when they speak with native speaker just for understand that they communicate
ignoring grammar. Actually, grammar is important because we use speaking skill
for communicate in class and daily life. So, I think speaking skill is the one
skill that is communication between more two people. Speaking for communication
that it was not easily or difficult. If you want to use speaking skill to
success, senders and Audiences
have to use speaking correctly. You have to speak specific point.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น