การสอนอ่านภาษาอังกฤษ
การอ่านเป็นกิจกรรมที่มีเป้าหมาย อ่านเพื่อที่จะได้รับข้อมูลหรือตรวจสอบความรู้ที่มีอยู่หรือเพื่อที่จะวิจารณ์ความคิดของผู้เขียนหรือการเขียนรูปแบบ ท่านยังอาจอ่านเพื่อความเพลิดเพลินหรือเพื่อเพิ่มพูนความรู้ของภาษาที่กำลังอ่าน วัตถุประสงค์ สำหรับการอ่านคู่มือการเลือกของผู้อ่านจากตำรา
วัตถุประสงค์สำหรับการอ่านยังกำหนดวิธีการที่เหมาะสมเพื่อให้เข้าใจในการอ่าน คน
ที่ต้องการที่จะทราบว่าเธอสามารถที่จะกินที่ร้านอาหารตรงตามความต้องการโดย
เฉพาะอย่างยิ่งเพื่อที่จะเข้าใจข้อมูลการกำหนดราคาที่ให้ไว้ในเมนู แต่ไม่จำเป็นต้องจดจำชื่อของอาหารจานหลักที่ระบุไว้ทุกครั้งที่ คนที่อ่านบทกวีเพื่อความเพลิดเพลินในความต้องการที่จะรับรู้คำพูดของกวีที่ใช้และวิธีการที่พวกเขาจะใส่กัน แต่ไม่จำเป็นต้องระบุความคิดหลักและรายละเอียดสนับสนุน แต่
คนที่ใช้เป็นบทความทางวิทยาศาสตร์เพื่อสนับสนุนความเห็นความต้องการที่จะรู้
คำศัพท์ที่ใช้ในการทำความเข้าใจข้อเท็จจริงและลำดับที่ก่อให้เกิดผลกระทบที่
จะถูกนำเสนอและรู้จักความคิด
เทคนิคการสอนทักษะการอ่านภาษาอังกฤษ (Reading
Skills)
การอ่านภาษาอังกฤษ มี 2 ลักษณะ คือ การอ่านออกเสียง (Reading aloud) และ
การอ่านในใจ (Silent Reading ) การอ่านออกเสียงเป็นการอ่านเพื่อฝึกความถูกต้อง
(Accuracy) และความคล่องแคล่ว ( Fluency) ใน การออกเสียง
ส่วนการอ่านในใจเป็นการอ่านเพื่อรับรู้และทำความเข้าใจในสิ่งที่อ่านซึ่ง
เป็นการอ่านอย่างมีจุดมุ่งหมาย เช่นเดียวกับการฟัง ต่างกันที่
การฟังใช้การรับรู้จากเสียงที่ได้ยิน
ในขณะที่การอ่านจะใช้การรับรู้จากตัวอักษรที่ผ่านสายตา ทักษะการอ่านภาษา
อังกฤษเป็นทักษะที่สามารถฝึกฝนให้ผู้เรียนเกิดความชำนาญและมีความสามารถ
เพิ่มพูนขึ้นได้ ด้วยเทคนิควิธีการโดยเฉพาะ
ครูผู้สอนจึงควรมีความรู้และเทคนิคในการสอนทักษะการอ่านให้แก่ผู้เรียนเพื่อ
ให้การอ่านแต่ละลักษณะประสบผลสำเร็จ
1. เทคนิควิธีปฏิบัติ
1. เทคนิควิธีปฏิบัติ
1.1 การอ่านออกเสียง การฝึกให้ผู้เรียนอ่านออกเสียงได้อย่าง ถูกต้อง และคล่องแคล่ว ควรฝึกฝนไปตามลำดับ โดยใช้เทคนิควิธีการ ดังนี้
(1) Basic
Steps of Teaching (BST) มีเทคนิคขั้นตอนการฝึกต่อเนื่องกันไปดังนี้
- ครูอ่านข้อความทั้งหมด 1 ครั้ง / นักเรียนฟัง
- ครูอ่านข้อความทั้งหมด 1 ครั้ง / นักเรียนฟัง
- ครูอ่านทีละประโยค / นักเรียนทั้งหมดอ่านตาม
- ครูอ่านทีละประโยค / นักเรียนอ่านตามทีละคน (อาจข้ามขั้นตอนนี้ได้ ถ้านักเรียนส่วนใหญ่อ่านได้ดีแล้ว)
- นักเรียนอ่านคนละประโยค ให้ต่อเนื่องกันไปจนจบข้อความทั้งหมด
- นักเรียนฝึกอ่านเอง
- สุ่มนักเรียนอ่าน
(2) Reading
for Fluency (Chain Reading) คือ เทคนิคการฝึกให้นักเรียนอ่านประโยคคนละประโยคอย่างต่อเนื่องกันไป เสมือนคนอ่านคนเดียวกัน โดยครูสุ่มเรียกผู้เรียนจากหมายเลขลูกโซ่ เช่น ครูเรียก Chain-number One นักเรียนที่มีหมายเลขลงท้ายด้วย 1, 11, 21, 31, 41, 51 จะ เป็นผู้อ่านข้อความคนละประโยคต่อเนื่องกันไป หากสะดุดหรือติดขัดที่ผู้เรียนคนใด ถือว่าโซ่ขาด ต้องเริ่มต้นที่คนแรกใหม่ หรือ เปลี่ยน Chain-number ใหม่
(3) Reading
and Look up คือ เทคนิคการฝึกให้นักเรียนแต่ละคน อ่านข้อความโดยใช้วิธี อ่านแล้วจำประโยคแล้วเงยหน้าขึ้นพูดประโยคนั้นๆ อย่างรวดเร็ว คล้ายวิธีอ่านแบบนักข่าว
(4) Speed Reading คือ เทคนิคการฝึกให้นักเรียนแต่ละคน อ่านข้อความโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ การอ่านแบบนี้ อาจไม่คำนึงถึงความถูกต้องทุกตัวอักษร แต่ต้องอ่านโดยไม่ข้ามคำ เป็นการฝึกธรรมชาติในการอ่านเพื่อความคล่องแคล่ว( Fluency) และเป็นการหลีกเลี่ยงการอ่านแบบสะกดทีละคำ
(5) Reading for Accuracy คือ การฝึกอ่านที่มุ่งเน้นความถูกต้องชัดเจนในการออกเสียง ทั้ง stress / intonation / cluster / final sounds ให้ตรงตามหลักเกณฑ์ของการออกเสียง ( Pronunciation) โดยอาจนำเทคนิคSpeed Reading มาใช้ในการฝึก และเพิ่มความถูกต้องชัดเจนในการออกเสียงสิ่งที่ต้องการ จะเป็นผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านได้อย่างถูกต้อง (Accuracy) และ คล่องแคล่ว( Fluency) ควบคู่กันไป
(4) Speed Reading คือ เทคนิคการฝึกให้นักเรียนแต่ละคน อ่านข้อความโดยเร็วที่สุดเท่าที่จะเร็วได้ การอ่านแบบนี้ อาจไม่คำนึงถึงความถูกต้องทุกตัวอักษร แต่ต้องอ่านโดยไม่ข้ามคำ เป็นการฝึกธรรมชาติในการอ่านเพื่อความคล่องแคล่ว( Fluency) และเป็นการหลีกเลี่ยงการอ่านแบบสะกดทีละคำ
(5) Reading for Accuracy คือ การฝึกอ่านที่มุ่งเน้นความถูกต้องชัดเจนในการออกเสียง ทั้ง stress / intonation / cluster / final sounds ให้ตรงตามหลักเกณฑ์ของการออกเสียง ( Pronunciation) โดยอาจนำเทคนิคSpeed Reading มาใช้ในการฝึก และเพิ่มความถูกต้องชัดเจนในการออกเสียงสิ่งที่ต้องการ จะเป็นผลให้ผู้เรียนมีความสามารถในการอ่านได้อย่างถูกต้อง (Accuracy) และ คล่องแคล่ว( Fluency) ควบคู่กันไป
Strategies
that can help students read more quickly and effectively include
- Previewing: reviewing titles, section headings, and photo captions to get a sense of the structure and content of a reading selection
- Predicting: using knowledge of the subject matter to make predictions about content and vocabulary and check comprehension; using knowledge of the text type and purpose to make predictions about discourse structure; using knowledge about the author to make predictions about writing style, vocabulary, and content
- Skimming and scanning: using a quick survey of the text to get the main idea, identify text structure, confirm or question predictions
- Guessing from context: using prior knowledge of the subject and the ideas in the text as clues to the meanings of unknown words, instead of stopping to look them up
- Paraphrasing: stopping at the end of a section to check comprehension by restating the information and ideas in the text
-
My opinion
ทักษะการอ่านทักษะ การอ่านเป็นทักษะหนึ่งที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอังกฤษซึ่งเป็นทักษะที่มี ความสำคัญ ทักษะการอ่านจะช่วยให้นักเรียนได้เรียนรู้และทำความเข้าใจด้วยตัวเอง ซึ่งการอ่านนั้นนักเรียนสามารถแสวงหาความรู้ไม่ใช่เฉพาะในห้องเรียนแต่นัก เรียนสามารถแสวงหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีแหล่งเรียนรู้มากมายและหลากหลายให้นักเรียนได้เลือกศึกษาค้นคว้าไม่ว่าจะ เป็นแหล่งเรียนรู้จากห้องสมุด ศูนย์ภาษา และการเรียนรู้ผ่านเทคโนโลยีต่างๆที่ปัจจุได้เข้ามามีบทบาทสำคัญและเป็น แหล่งเรียนที่ทันสมัยและสะดวกสบายจึงเป็นประโยน์กับผู้เรียนอย่างมากการ อ่านนั้นสามารถแบ่งได้หลากหลายไม่ว่าจะเป็น การอ่านเพื่อจับใจความสำคัญของเรื่อง การอ่านเพื่อตีความ การอ่านเพื่อวิเคราะห์ข้อมูล เป็นต้น แต่ไม่ว่าเราจะเลือกอ่านหนังสือประเภทใดและอ่านเพื่ออะไรก็ตามสิ่งสำคัญคือ การอ่านทำให้เราเกิดการเรียนรู้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น